Category Archives: วัดศรีเอี่ยม

วัดศรีเอี่ยม

วัดศรีเอี่ยม is the position for activity in post to be presented at the 1st rank on Google page search by address the focus keyphrase name in category.

เขตบางนา Khet Bang Na is one of 50 districts of กรุงเทพมหานคร Bangkok, Thailand.

ประวัติวัดศรีเอี่ยม 
 วัดศรีเอี่ยมเป็นวัดสังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีนามเดิมว่า วัดศรีเอี่ยมวัฒนาราม เดิมเป็นสำนักสงฆ์ ตั้งเมื่อ พ.ศ. 2508 โดยคุณแม่ขาบ อ่องเอี่ยม พร้อมด้วยคุณละออง อ่องเอี่ยม (บุตร) คุณบัญญัติ (เบิ้ม)อ่องเอี่ยม (บุตร) คุณสงกรานต์ อ่องเอี่ยม คุณฉลวย (แหลม) อ่องเอี่ยมยม ได้ถวายที่ดินจำนวน 6 ไร่เศษ ให้พระครูศรีวรพินิจ (มหาศิริ เผือกผ่อง) เจ้าอาวาสวัดบางนาใน โดยเริ่มก่อตั้งวัดเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2516 และเริ่มการสร้างวัดเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2517 ต่อมา อาจารย์สุขุม และคุณหญิงฟองจันทร์ ถิรวัฒน์ ได้ถวายที่ดินเพื่อขยายวัด จำนวนอีก 6 ไร่เศษ ในปีกุน พ.ศ. 2526 แด่พระอธิการประเสริฐ สุตธมโม (สุตพรหม) โดยใช้ชื่อวัดว่า วัดศรีเอี่ยมวัฒนาราม
    คำว่า ศรี นำมาจาก พระครุศรีวรพินิจ และคำว่า เอี่ยม มาจากนามสกุลของ คุณแม่ขาบแล้วเติมคำว่าวัฒนาต่อท้าย หมายถึงพระครูศรีวรพินิจ และตระกูลอ่องเอี่ยม ได้ร่วมกันพัฒนาเพื่อสร้างวัดนี้ ต่อมาชื่อนั้นเรียกยากจึงได้ตัดคำว่า วัมนารามออกไป จึงเหลือแต่วัดศรีเอี่ยมมาจนถึงปัจจุบัน
    วัดศรีเอี่ยมได้รับอนุญาตให้สร้างเป็นวัด เมื่อวันที่ศุกร์ที่ 8 มิถุนายน 2552 ขึ้น 14 ค่ำ เดือน 7 ปีมะแม เอกศก ปรกติมาส อธิกวารปรกตสุรทิน ได้รับพระราชทานวิสุงคาม-สีมา เมื่อวันพุธที่ 18 กุมภาพันธ์ 2524 ขึ้น 14 ค่ำ เดือน 3 ปี วอก โทศก อธิกวารปรกตสุรทิน อธกสุรทิน (ประกาศลงราชกิจจานุเบกษา เล่น 98 ตอน 37 ลงวันที่ 8 มีนาคม 2524 ) ผูกพันธสีมาเมื่อวันอาทิตย์ที่ 31 มกราคม 2525 ขึ้น 7 ค่ำ เดือน 3 ปีจอ
    พื้นที่ตั้งวัดเป็นที่ราบลุ่มเดิมเป็นทุ่งนา ทิศตะวันออกบางส่วนติดต่อกับ ถนนพัฒนาการใกล้ชุมชนของการเคหะแห่งชาติ มีถนนเข้าถึงวัด การคมนาคมสะดวก อาคารเสนาสนะ มีพระอุโบสถกว้าง 12 เมตร ยาว 30 เมตร สร้าง พ.ศ. 2525 หลังคา 3 ชั้น ใต้ถนสูงใช้เป็นห้องสมุดฝึกสมาธิ ประชุม กฏิจำนวน 4 หลัง เป็นอาคารครึ่งตึกครึ่งไม้ ศาลาการเปรียญกว้าง 15 เมตร ใต้ถุนตัน ศาลาอเนกประสงค์กว้าง 13.50 เมตร ยาว 32 เมตร สร้าง พ.ศ. 2516

บริษัท เอ็มเค เมทัลชีท โปรดักส์ จำกัด

MK Metalsheet Products Company Limited

เขตบางนา เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตของกรุงเทพมหานคร สภาพทั่วไปเป็นเขตชุมชนเมืองหนาแน่นปานกลางผสมกับชุมชนการเกษตร[ต้องการอ้างอิง]

ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้]

ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา (ฝั่งพระนคร) มีอาณาเขตติดต่อกับเขตต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกา ดังนี้

ประวัติ[แก้]

ท้องที่เขตบางนาในอดีตมีฐานะเป็น ตำบลบางนา เป็นเขตการปกครองหนึ่งของอำเภอพระโขนง จังหวัดพระประแดง (เปลี่ยนชื่อมาจากนครเขื่อนขันธ์ตั้งแต่ พ.ศ. 2457)[2] จนกระทั่งใน พ.ศ. 2470 ทางราชการได้พิจารณาโอนตำบลบางนาไปขึ้นกับอำเภอสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการแทน เพื่อความสะดวกในการปกครอง[3] แต่ใน พ.ศ. 2472 ก็โอนกลับมาเป็นเขตการปกครองของอำเภอพระโขนง (ซึ่งได้ย้ายจากจังหวัดพระประแดงมาขึ้นกับจังหวัดพระนครอยู่ก่อนแล้ว) อีกครั้งหนึ่ง เนื่องจากตั้งอยู่ใกล้กันมากกว่าและประชาชนไปติดต่อธุระราชการได้สะดวกกว่า[4]

ต่อมาในท้องที่ตำบลบางนาเริ่มมีสภาพเป็นชุมชน ย่านการค้า อุตสาหกรรม และที่พักอาศัยหนาแน่นขึ้น ในการขยายเขตเทศบาลนครกรุงเทพครั้งที่ 2 เมื่อ พ.ศ. 2498 ทางราชการจึงโอนพื้นที่บางส่วนของตำบลบางนาเข้าไปในท้องที่ด้วย[5] ส่วนพื้นที่ที่อยู่นอกเขตเทศบาลนั้นได้กลายเป็นท้องที่ในเขตสุขาภิบาลประเวศซึ่งจัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2506[6] จนกระทั่งมีการขยายเขตเทศบาลนครกรุงเทพออกไปอีกเป็นครั้งที่ 3 เมื่อ พ.ศ. 2507 จึงแยกไปรวมอยู่ในเขตเทศบาลทั้งตำบล[7]

ใน พ.ศ. 2514 จังหวัดพระนครถูกรวมเข้ากับจังหวัดธนบุรี เปลี่ยนฐานะเป็นนครหลวงกรุงเทพธนบุรี[8] และใน พ.ศ. 2515 จึงเปลี่ยนแปลงฐานะเป็นกรุงเทพมหานคร[9] ซึ่งได้ยกเลิกการปกครองแบบสุขาภิบาลและเทศบาล รวมทั้งเปลี่ยนคำเรียกเขตการปกครองใหม่จากอำเภอและตำบลเป็นเขตและแขวงตามลำดับ ตำบลบางนาจึงได้รับการเปลี่ยนแปลงฐานะเป็น แขวงบางนา ขึ้นกับเขตพระโขนง

ภายหลังในเขตพระโขนงและเขตอื่น ๆ ของกรุงเทพมหานครมีความเจริญและมีประชากรหนาแน่นขึ้น จำเป็นต้องจัดขนาดพื้นที่และจำนวนประชากรในเขตต่าง ๆ ให้มีความเหมาะสมใกล้เคียงกัน เพื่อให้การปกครองและการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ในวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2540 กระทรวงมหาดไทยจึงประกาศเปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตพระโขนง โดยแยกแขวงบางนาและบางส่วนของแขวงบางจากออกมาจัดตั้งเป็น เขตบางนา และในวันที่ 7 พฤศจิกายน ปีเดียวกัน กรุงเทพมหานครได้ประกาศตั้งแขวงบางนาเต็มพื้นที่เขตบางนา เพื่อให้เกิดความชัดเจนและประโยชน์ในด้านการปกครอง การบริหาร และการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชน และประกาศทั้ง 2 ฉบับเริ่มมีผลบังคับใช้ในวันเดียวกันคือวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2541[10][11]

การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]

วันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 กรุงเทพมหานครได้ประกาศยุบแขวงบางนาและตั้งแขวงขึ้นใหม่ 2 แขวง[12] โดยมีผลบังคับใช้ในวันเดียวกัน ส่งผลให้เขตบางนาในปัจจุบันประกอบด้วยแขวงดังต่อไปนี้

อักษรไทย อักษรโรมัน พื้นที่
(ตร.กม.)
จำนวนประชากร
(ธันวาคม 2561)
จำนวนบ้าน
(ธันวาคม 2561)
ความหนาแน่นประชากร
(ธันวาคม 2561)
บางนาเหนือ Bang Na Nuea
42,235
31,770
บางนาใต้ Bang Na Tai
47,913
35,839
ทั้งหมด
18.789
90,148
67,609
4,797.91

โดยมีถนนสรรพาวุธและถนนเทพรัตนเป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงทั้ง 2 ดังกล่าว ตั้งแต่ท่าเรือสรรพาวุธจนถึงสะพานข้ามคลองบางนา

ประชากร[แก้]

การคมนาคม[แก้]

ทางสายหลักในพื้นที่เขตบางนา ได้แก่

ส่วนทางสายรองและทางลัด ได้แก่

ระบบขนส่งมวลชน

สถานที่สำคัญ[แก้]

สถานศึกษา[แก้]

สโมสรกีฬา[แก้]

Call Now Button