Category Archives: วัดสะพาน

วัดสะพาน

วัดสะพาน is a position for activity in post to be presented at the 1st  rank on Google page search by address the focus keyphrase name in category.

ระวัติวัดสะพาน พระโขนง
ประวัติชื่อวัด
แต่เดิมไม่มีหลักฐานใดปรากฏชัด คงมีแต่การบอกเล่าต่อกันมาว่า เริ่มสร้างประมาณก่อนปี พ.ศ. ๒๔๐๐ ซึ่งชาวบ้านนิยมเรียกนามสั่น ๆ ว่า “วัดหัวสะพาน” เพราะทำเลที่ตั้งวัดอยู่ใกล้กับสะพานข้ามคลองซึ่งมีรถไฟไอน้ำวิ่งผ่าน ระหว่างสถานที่รถไฟหัวลำโพงไปยังปากน้ำสมุทรปราการ ในระยะต่อมาได้เปลี่ยนเป็น รถรางไฟฟ้าวิ่งอยู่อีกระยะหนึ่งแล้วจึงยกเลิก ปัจจุบันเป็นทางรถยนต์วิ่งผ่านไปมา
การเริ่มสร้างวัด
การก่อสร้างเสนาสนะภายในวัด เท่าที่ค้นหาหลักฐาน มีปราฏกในสมัย พระวินยานุวัติคุณ
(หลวงปู่วิง กิจฺจกาโร) ในหนังสืออนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ ท่านเจ้าคุณพระวินยานุวัติคุณ
“ผมเคยอยู่ร่วมกันท่านมาเป็นเวลานาน ตั้งแต่ท่านและผมยังหนุ่มๆ ผมเคยได้ร่วมช่วยเหลือท่าน
สร้างอุโบสถวัดสะพานหลังที่ตั้งอยู่ในปัจจุบันมาด้วยความอยากลำบาก เพราะสมัยนั้น ทางรถยนต์ก็ยังมาไม่ถึงวัดเหมือนปัจจุบันนี้ มีแต่รถไฟสายปากน้ำผ่านไป-มาเท่านั้น การขนส่งสัมภาระในการก่อสร้างก็เป็น ไปด้วยความยากลำบากจริง ๆ แต่ท่านเจ้าคุณก็พยายามฟันผ่าอุปสรรคเหล่านั้นมาจนพระอุโบสถหลังนี้สำเร็จไปด้วยดี” (ประมาณปีก่อสร้างอุโบสถ พ.ศ. ๒๔๖๑)
ส่วนการขอพระราชทานวิสุงคามสีมา พอจะอนุมานได้จากหลักฐานทางราชการ คือในการฉลองกรุงเมื่อครบ ๑๕๐ ปี หากวัดใดที่สร้างมาก่อน พ.ศ. ๒๔๗๕ ที่ยังไม่ได้ขอรับพระราชทานวิสุงคามสีมา ทางราชการจึงได้ ขอพระราชทานวิสุงคามสีมาให้ และยังได้จัดทำเหรียญประจำรัฐกาลไว้ประจำอุโบสถอีกด้วย (ลักษณะเป็นเหรียญทองเหลือง หล่อรูปพระบรมสาทิสลักษณ์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล รัฐกาลที่ ๘ เหรียญเลขที่ ๑๑๔)
(อาจจะผิดพลาดได้ ขอท่านผู้รู้โปรดแก้ไขให้ด้วย)
การบูรณปฏิสังขรณ มีปรากฏหลักฐานที่ช่อฟ้าใบระกา ระบุว่าทำการซ่อมแซมในปีพ.ศ. ๒๔๘๕
โดยหลวงปู่วิง ปัจจุบันสภาพทางภูมิศาสตร์ได้เปลี่ยนแปลงไปถึงคราวฝนตก หรือหน้าน้ำทะเลหนุน น้ำใน คลองพระโขนง จะไหลเข้าท่วมขังภายในอุโบสถอยู่เป็นประจำ
ข้อมูลทัวไป
ชื่อ : วัดสะพาน พระโขนง
ที่อยู่ : 28 หมู่ 15 ซอยริมทางรถไฟเก่า สุขุมวิท 50 แขวงพระโขนง เขตคลองเตย กทม 10250
เบอร์โทร : 027428688

เขตคลองเตย เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตของกรุงเทพมหานคร ถือเป็นเขตเศรษฐกิจใหม่และการพัฒนาตามแนววงแหวนอุตสาหกรรม

ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้]

เขตคลองเตยตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ทางตอนกลางค่อนไปทางตะวันตกของฝั่งพระนคร มีอาณาเขตติดต่อกับเขตต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกาดังนี้

ประวัติ[แก้]

ย้อนไปถึงประมาณพุทธศตวรรษที่ 14 (คริสต์ศตวรรษที่ 9) บริเวณเขตคลองเตยเคยเป็นที่ตั้งของ เมืองปากน้ำพระประแดง เป็นเมืองหน้าด่านปากน้ำเจ้าพระยา ก่อนที่จะขึ้นไปสู่เมืองอื่น ๆ (อยู่ตรงข้ามกับเมือง (อำเภอ) พระประแดงในปัจจุบัน ซึ่งสร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 1)

เมื่อมีการจัดการปกครองส่วนภูมิภาคในสมัยรัชกาลที่ 5 บริเวณนี้จึงอยู่ในเขตการปกครองของ เมือง (จังหวัด) พระประแดง โดยมีฐานะเป็น ตำบลคลองเตย อำเภอพระโขนง ต่อมาอำเภอพระโขนงได้ย้ายมาขึ้นกับจังหวัดพระนคร และได้มีการยุบรวมจังหวัดธนบุรีกับจังหวัดพระนคร เปลี่ยนฐานะเป็นนครหลวงกรุงเทพธนบุรีและกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้เปลี่ยนการเรียกหน่วยการปกครองใหม่ด้วย ตำบลคลองเตยจึงเปลี่ยนแปลงฐานะเป็น แขวงคลองเตย เป็นพื้นที่การปกครองของสำนักงานเขตพระโขนง

ภายหลังเขตพระโขนงมีความเจริญและมีประชากรหนาแน่นขึ้น พื้นที่บางแห่งอยู่ไกลจากสำนักงานเขต ในวันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2532 กรุงเทพมหานครจึงได้จัดตั้งสำนักงานเขตพระโขนง สาขา 1 (คลองเตย) ขึ้นดูแลแขวงคลองเตย แขวงคลองตัน และแขวงพระโขนง และในวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532 กระทรวงมหาดไทยได้แบ่งพื้นที่ 3 แขวงดังกล่าวตั้งเป็น เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร

จนกระทั่งในวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2538 กรุงเทพมหานครได้จัดตั้งแขวงคลองเตยเหนือ แขวงคลองตันเหนือ และแขวงพระโขนงเหนือ โดยใช้ถนนสุขุมวิทเป็นเส้นแบ่งเขตออกจากแขวงเดิม และให้สำนักงานเขตคลองเตย สาขา 1 ดูแลพื้นที่แขวงใหม่ดังกล่าวซึ่งต่อมาได้แยกออกไปเป็นเขตวัฒนาในปี พ.ศ. 2540

การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]

เขตคลองเตยมีหน่วยการปกครองย่อย 3 แขวง ได้แก่

อักษรไทย อักษรโรมัน พื้นที่
(ตร.กม.)
จำนวนประชากร
(ธันวาคม 2561)
จำนวนบ้าน
(ธันวาคม 2561)
ความหนาแน่นประชากร
(ธันวาคม 2561)
คลองเตย Khlong Toei
7.249
67,346
33,423
9,290.38
คลองตัน Khlong Tan
1.901
11,101
14,323
5,839.55
พระโขนง Phra Khanong
3.850
23,096
24,434
5,998.96
ทั้งหมด
13.000
101,543
72,180
7,811.00

ประชากร[แก้]

สถานที่สำคัญ[แก้]

ท่าเรือกรุงเทพ

การคมนาคม[แก้]

ทางบก[แก้]

ทางน้ำ[แก้]

ระบบขนส่งมวลชน[แก้]

รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล

เศรษฐกิจชุมชน[แก้]

ที่ชุมชนเกาะกลางน้ำ เขตคลองเตย ผู้ที่อาศัยอยู่ยังชุมชนนี้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ด้วยการปลูกผักและเพาะเห็ดหลายชนิด เช่น เห็ดนางฟ้าเห็ดนางฟ้าภูฏานเห็ดเป๋าฮื้อเห็ดหูหนู[3]

Call Now Button