Category Archives: สะพานพระปกเกล้า

สะพานพระปกเกล้า

สะพานพระปกเกล้า is a position for activity in post to be presented at the 1st  rank on Google page search by address the focus keyphrase name in category.

สะพานพระปกเกล้า (อังกฤษ: Phra Pok Klao Bridge) หรือที่บางคนเรียกกันแบบสั้น ๆ ว่า สะพานปก เป็นสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร เชื่อมระหว่างถนนจักรเพชร ในพื้นที่แขวงวังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร (ฝั่งพระนคร) กับถนนประชาธิปก ในพื้นที่แขวงสมเด็จเจ้าพระยา เขตคลองสาน ฝั่งธนบุรี เป็นสะพานคู่ขาไปและขากลับ สร้างเคียงข้างขนานกันกับสะพานพระพุทธยอดฟ้า เนื่องจากการจราจรบริเวณนั้นถึงจุดวิกฤต รัฐบาลจึงเห็นว่าควรมีสะพานอีกแห่งหนึ่งเพื่อช่วยระบายการจราจร โดยได้เว้นที่ช่วงกลางสะพานไว้สำหรับก่อสร้างรถไฟฟ้าลาวาลินด้วย ปัจจุบันสะพานแห่งนี้อยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวงชนบท

ข้อมูลทั่วไป
วันที่ทำการก่อสร้าง : วันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2524
วันเปิดการจราจร : วันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2527
บริษัทที่ทำการก่อสร้าง : บริษัท สุมิโตโม คอนสตรัคชั่น จำกัด
ราคาค่าก่อสร้าง : 475,000,000.00 บาท
แบบของสะพาน : เป็นสะพานชนิดต่อเนื่อง
โครงสร้างส่วนบน : คอนกรีตอัดแรง
สูงจากระดับน้ำ : 8.90 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง
สร้างสะพานเป็นแบบสะพานคู่ : ห่างกัน 15.00 เมตร (ซึ่งจัดเป็นทางสำหรับโครงการรถไฟฟ้าลาวาลิน)
จำนวนช่วงสะพานกลางน้ำ : 3 ช่วง (56.00+100.00+56.00)
เชิงลาดสะพาน ฝั่งธนบุรี : 348.20 เมตร
เชิงลาดสะพาน ฝั่งพระนคร : 184.80 เมตร
ความกว้างของสะพาน : 13.20 เมตร
จำนวนช่องทางวิ่ง : 3 ช่องทางจราจร (ของแต่ละสะพาน)
ความกว้างผิวจราจรสะพาน : 11.25 เมตร (ของแต่ละสะพาน)
ความกว้างช่องละ : 3.25 เมตร
ทางเท้ากว้าง : 1.50 เมตร
ออกแบบรับน้ำหนัก : H-20-44[1]
ในปัจจุบันมีโครงการก่อสร้าง “สะพานพระปกเกล้าสกายปาร์ค” เพื่อปรับปรุงโครงสร้างเดิมของโครงการรถไฟฟ้าลาวาลินที่สร้างค้างและไม่ได้รับผลประโยชน์มานานกว่า 30 ปี ให้เป็นสวนสาธารณะลอยฟ้าแห่งแรกของประเทศไทย พร้อมมุมพักผ่อน ทางเดิน ทางจักรยาน และจุดชมวิว เชื่อมการสัญจรฝั่งธนบุรีเข้ากับฝั่งพระนคร เริ่มตั้งแต่ปลายสะพานฝั่งธนบุรีเหนือสวนป่าเฉลิมพระเกียรติถึงปลายสะพานฝั่งพระนคร มีระยะทางประมาณ 280 เมตร ระยะเวลาดำเนินการ 360 วัน ลงนามในสัญญาจ้างวันที่ 28 มีนาคม 2562 มีกำหนดแล้วเสร็จวันที่ 23 มีนาคม 2563[2]

เขตคลองสาน Khet Klong San is one of 50 districts of กรุงเทพมหานคร Bangkok, Thailand.

เขตคลองสาน เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตของกรุงเทพมหานคร เป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งธนบุรี

ที่ตั้งและอาณาเขต
ตั้งอยู่บริเวณตะวันออกสุดของฝั่งธนบุรี มีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่การปกครองต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกาดังนี้

ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตพระนครและเขตสัมพันธวงศ์ มีแนวกึ่งกลางแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นเส้นแบ่งเขต
ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตบางรักและเขตสาทร มีแนวกึ่งกลางแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นเส้นแบ่งเขต
ทิศใต้ ติดต่อกับเขตบางคอแหลม มีแนวกึ่งกลางแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นเส้นแบ่งเขตเช่นกัน
ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตธนบุรี มีคลองบางไส้ไก่ ถนนสมเด็จพระเจ้าตากสิน และถนนประชาธิปกเป็นเส้นแบ่งเขต

เขตคลองสานเดิมมีฐานะเป็น อำเภอบางลำภูล่าง อยู่ในเขตปกครองของจังหวัดธนบุรี และได้เปลี่ยนชื่อเป็น อำเภอบุปผาราม ต่อมาพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนนามอำเภอบุปผารามเป็น อำเภอคลองสาน ใน พ.ศ. 2459 เนื่องจากมีขณะนั้นที่ตั้งอำเภออยู่ที่วัดทองนพคุณในเขตตำบลคลองสาน

ใน พ.ศ. 2481 ได้มีประกาศสำนักนายกรัฐมนตรียุบรวมอำเภอและยุบอำเภอลงเป็นกิ่งอำเภอ โดยอำเภอคลองสานได้ถูกลดฐานะลงเป็น กิ่งอำเภอคลองสาน ขึ้นกับอำเภอบางยี่เรือ (ใน พ.ศ. 2482 อำเภอบางยี่เรือได้เปลี่ยนชื่อเป็นอำเภอธนบุรี)

ต่อมาในพื้นที่กิ่งอำเภอคลองสานมีจำนวนประชากรเพิ่มขึ้น ใน พ.ศ. 2500 จึงได้มีพระราชกฤษฎีกาตั้ง อำเภอคลองสาน ขึ้นอีกครั้ง

ครั้นใน พ.ศ. 2514 ได้มีประกาศคณะปฏิวัติให้รวมจังหวัดพระนครกับจังหวัดธนบุรีเข้าเป็นจังหวัดนครหลวงกรุงเทพธนบุรีและมีฐานะเป็นกรุงเทพมหานครใน พ.ศ. 2515 แบ่งพื้นที่ออกเป็นเขตและแขวงแทนอำเภอและตำบล อำเภอคลองสานจึงเปลี่ยนฐานะเป็น เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร
เขตคลองสานแบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 4 แขวง

เขตคลองสาน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ไปยังการนำทางไปยังการค้นหา

เขตคลองสาน
แผนที่กรุงเทพมหานคร เน้นเขตคลองสาน
คำขวัญ: แผ่นดินพระเจ้าตากสิน ถิ่นเดิมผลไม้ดัง
ติดฝั่งเจ้าพระยา โบราณสถานเด่นสง่า
อุทยานสมเด็จย่ารวมใจ
พิกัดภูมิศาสตร์: 13°43′49″N 100°30′35″E
อักษรไทย เขตคลองสาน
อักษรโรมัน Khet Khlong San
พื้นที่[1]
 • ทั้งหมด 6.87 ตร.กม. (2.65 ตร.ไมล์)
ประชากร (2561)[2]
 • ทั้งหมด 72,171
 • ความหนาแน่น 10,505.24 คน/ตร.กม. (27,208.4 คน/ตร.ไมล์)
รหัสไปรษณีย์ 10600
รหัสภูมิศาสตร์ 1018
ที่อยู่
สำนักงาน
เลขที่ 861 ถนนลาดหญ้า แขวงคลองสาน เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร 10600
เว็บไซต์ www.bangkok.go.th/khlongsarn
สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย

เขตคลองสาน เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตของกรุงเทพมหานคร เป็นเขตอนุรักษ์เมืองเก่า แหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และศิลปวัฒนธรรมทางฝั่งธนบุรี

ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้]

ตั้งอยู่บริเวณตะวันออกสุดของฝั่งธนบุรี มีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่การปกครองต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกาดังนี้

ประวัติศาสตร์[แก้]

เขตคลองสานเดิมมีฐานะเป็น อำเภอบางลำภูล่าง อยู่ในเขตปกครองของจังหวัดธนบุรี และได้เปลี่ยนชื่อเป็น อำเภอบุปผาราม ต่อมาพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้โปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนนามอำเภอบุปผารามเป็น อำเภอคลองสาน ใน พ.ศ. 2459 เนื่องจากมีขณะนั้นที่ตั้งอำเภออยู่ที่วัดทองนพคุณในเขตตำบลคลองสาน

ใน พ.ศ. 2481 ได้มีประกาศสำนักนายกรัฐมนตรียุบรวมอำเภอและยุบอำเภอลงเป็นกิ่งอำเภอ โดยอำเภอคลองสานได้ถูกลดฐานะลงเป็น กิ่งอำเภอคลองสาน ขึ้นกับอำเภอบางยี่เรือ (ใน พ.ศ. 2482 อำเภอบางยี่เรือได้เปลี่ยนชื่อเป็นอำเภอธนบุรี)

ต่อมาในพื้นที่กิ่งอำเภอคลองสานมีจำนวนประชากรเพิ่มขึ้น ใน พ.ศ. 2500 จึงได้มีพระราชกฤษฎีกาตั้ง อำเภอคลองสาน ขึ้นอีกครั้ง

ครั้นใน พ.ศ. 2514 ได้มีประกาศคณะปฏิวัติให้รวมจังหวัดพระนครกับจังหวัดธนบุรีเข้าเป็นจังหวัดนครหลวงกรุงเทพธนบุรีและมีฐานะเป็นกรุงเทพมหานครใน พ.ศ. 2515 แบ่งพื้นที่ออกเป็นเขตและแขวงแทนอำเภอและตำบล อำเภอคลองสานจึงเปลี่ยนฐานะเป็น เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร

การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]

เขตคลองสานแบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 4 แขวง ได้แก่

อักษรไทย อักษรโรมัน พื้นที่
(ตร.กม.)
จำนวนประชากร
(ธันวาคม 2561)
จำนวนบ้าน
(ธันวาคม 2561)
ความหนาแน่นประชากร
(ธันวาคม 2561)
สมเด็จเจ้าพระยา Somdet Chao Phraya
1.16
13,027
5,051
11,230.17
คลองสาน Khlong San
1.49
16,048
5,861
10,770.46
บางลำภูล่าง Bang Lamphu Lang
2.47
24,344
13,299
9,855.87
คลองต้นไทร Khlong Ton Sai
1.75
18,752
14,619
10,715.42
ทั้งหมด
6.87
72,171
38,830
10,505.24

ประชากร[แก้]

สถานที่สำคัญ[แก้]

บ้านหวั่งหลี

ไอคอนสยาม

ระบบขนส่งมวลชน[แก้]

  • สถานีกรุงธนบุรีและสถานีวงเวียนใหญ่ของรถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษาสายสีลม

สะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา[แก้]

สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสิน

มี 2 สะพาน คือ

Call Now Button