Category Archives: ถนนเทพรัตน

ถนนเทพรัตน

ถนนเทพรัตน is the position for activity in post to be presented at the 1st rank on Google page search by address the focus keyphrase name in category.

ถนนเทพรัตน (อักษรโรมันThanon Debaratna) หรือ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 34 สายบางนา–หนองไม้แดง เป็นทางหลวงแผ่นดินแนวตะวันตก–ตะวันออก แยกออกมาจากถนนสุขุมวิทในเขตบางนา กรุงเทพมหานคร แล้วไปบรรจบกับถนนสุขุมวิทอีกครั้งที่ทางแยกต่างระดับหนองไม้แดงในอำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี

รายละเอียดของเส้นทาง[แก้]

ถนนเทพรัตน เป็นทางหลวงแผ่นดินขนาด 9–14 ช่องจราจร มีจุดเริ่มต้นทางทิศตะวันตกที่สี่แยกบางนา ในเขตบางนา กรุงเทพมหานคร เป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงบางนาเหนือและแขวงบางนาใต้จนถึงคลองบางนา จากนั้นถือว่าเป็นส่วนหนึ่งในพื้นที่จังหวัดสมุทรปราการ โดยผ่านพื้นที่อำเภอบางพลี ซึ่งช่วงนี้ถนนจะมีขนาด 12-14 ช่องจราจร (ช่องทางหลัก 8 ช่อง ทางคู่ขนาน 4-6 ช่อง) ส่วนในอำเภอบางเสาธงและอำเภอบางบ่อจะเป็นถนนขนาด 10 ช่องจราจร (ช่องทางหลัก 6 ช่อง ทางคู่ขนาน 4 ช่อง) จากนั้นจึงเข้าสู่จังหวัดฉะเชิงเทราในพื้นที่อำเภอบางปะกง และไปบรรจบกับถนนสุขุมวิทที่ทางแยกต่างระดับหนองไม้แดง โดยถนนในช่วงนี้จะลดขนาดเหลือ 9 ช่องจราจร (ช่องทางหลักขาเข้า 3 ช่อง ทางคู่ขนาน 2 ช่อง ช่องทางหลักขาออก 2 ช่องทางคู่ขนาน 2 ช่อง) ปัจจุบันมีทางพิเศษบูรพาวิถีเป็นทางยกระดับอยู่ด้านบนของถนนเป็นทางเลือกสำหรับผู้ที่ต้องการความสะดวกรวดเร็วมากขึ้นกว่าเดิม

ประวัติ[แก้]

ในอดีตยังไม่มีการกำหนดชื่อเรียกทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 34 อย่างเป็นทางการ ชาวบ้านจึงเรียกชื่อถนนสายนี้ตามจุดเริ่มต้นถึงจุดสิ้นสุด (รวมไปกับถนนสุขุมวิท) ว่า ถนนบางนา−ตราด และเรียกติดปากมาเรื่อย ๆ จนกระทั่งกรมทางหลวงได้กำหนดชื่ออย่างเป็นทางการตามจุดสิ้นสุดที่แท้จริงของถนนสายนี้ว่า ทางหลวงสายบางนา–บางปะกง อย่างไรก็ตาม กรุงเทพมหานครได้กำหนดชื่อเรียกถนนในพื้นที่ของตนว่า “ถนนบางนา−ตราด”

ต่อมากรมทางหลวงได้กำหนดให้ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 34 มีเส้นทางขยายต่อไปถึงบริเวณทางแยกต่างระดับหนองไม้แดง ตำบลหนองไม้แดง อำเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี โดยใช้ทางคู่ขนานของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3 แต่นับหลักกิโลเมตรถนนสุขุมวิทซ้อนไปกับทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 34 ด้วย และกำหนดชื่อเรียกใหม่เป็น ทางหลวงสายบางนา–หนองไม้แดง

เมื่อวันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2559 สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศเป็น สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้พระราชทานชื่อทางการของทางหลวงหมายเลข 34 ตลอดทั้งเส้นว่า ถนนเทพรัตน และได้พระราชทานพระราชานุญาตให้เชิญตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติฯ ในโอกาสฉลองพระชนมายุ 5 รอบ วันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2558 ประดับที่ป้ายชื่อทางหลวงแผ่นดินสาย 34 อีกด้วย

ระเบียงภาพ[แก้]

ถนนเทพรัตน โดยมีทางพิเศษบูรพาวิถีเป็นทางยกระดับซ้อนอยู่ด้านบน ภาพกลางตั้งอยู่ในอำเภอบางบ่อ

รายชื่อทางแยก[แก้]

รายชื่อทางแยกบน Thai Highway-34.svg ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 34 (ถนนเทพรัตน) ทิศทาง: บางนา−บางปะกง
จังหวัด อำเภอ กม.ที่ ชื่อจุดตัด ซ้าย ขวา
กรุงเทพมหานคร บางนา 0+000 แยกบางนา เชื่อมต่อจาก: Thailand road sign Expressway.svg ทางพิเศษเฉลิมมหานคร ไป ดินแดง, ดาวคะนอง, แจ้งวัฒนะ (ทางหลัก) Thai Highway-3102.svg ถนนสรรพาวุธ ไป ท่าน้ำวัดบางนานอก (ทางขนาน)
Thai Highway-3.svg ถนนสุขุมวิท ไป พระโขนง Thai Highway-3.svg ถนนสุขุมวิท ไป ปากน้ำ
4+168 ต่างระดับศรีเอี่ยม Thai Highway-3344.svg ถนนศรีนครินทร์ ไป บางกะปิ Thai Highway-3344.svg ถนนศรีนครินทร์ ไป แยกศรีเทพา, ปากน้ำ
5+032 สะพาน ข้ามคลองบางนา
สมุทรปราการ บางพลี 9+084 ต่างระดับวัดสลุด Thai Motorway-t9.svg  ถนนกาญจนาภิเษก (ตะวันออก) ไป บางปะอินวังน้อย Thailand road sign Expressway.svg  ทางพิเศษกาญจนาภิเษก ไป Thai Highway-35.svg ถนนพระรามที่ 2
12+075 แยกกิ่งแก้ว Thai Highway-3256.svg ถนนกิ่งแก้ว ไป ลาดกระบัง Thai Highway-3256.svg ถนนกิ่งแก้ว ไป ถนนเทพารักษ์
15+100 ต่างระดับบางโฉลง Thai Highway-370.svg ถนนสุวรรณภูมิ เข้า Thailand road sign Airport.svg ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ไม่มี
Thai Rural Road-สป.2001.svg ถนนวัดศรีวารีน้อย ไป ถนนลาดกระบัง ไม่มี
ไม่มี ตรากรมชลประทาน.png ถนนเลียบคลองส่งน้ำสุวรรณภูมิ ไป ถนนเทพารักษ์สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์
บางเสาธง แยกเคหะบางพลี ไม่มี Thai Rural Road-สป.1006.svg ถนนเคหะบางพลี ไป ถนนสุขุมวิท (สายเก่า)
Thai Rural Road-สป.5003.svg ถนนนวมินทราชินูทิศ ไป ถนนหลวงแพ่ง ไม่มี
บางบ่อ 26+915 ไม่มี Thai Highway-3413.svg ถนนรัตนราช ไป บางบ่อ, คลองด่าน
Samut Prakan PAO Logo.jpg ถนนรัตนโกสินทร์ 200 ปี ไป ตำบลเปร็ง ไม่มี
ฉะเชิงเทรา บางปะกง 39+262 ต่างระดับบางบ่อ (บางวัว) Thai Motorway-t7.svg   ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 ไป ชลบุรีพัทยา ไม่มี
ถนนจรัญยานนท์ ไป เขตเทศบาลตำบลท่าสะอ้าน ไม่มี
46+614 แยกคลองอ้อม Thai Highway-314.svg ถนนสิริโสธร ไป บางปะกงฉะเชิงเทรา Thai Highway-3.svg ถนนสุขุมวิท (สายเก่า) ไป บางปูสมุทรปราการ
50+500 สะพานเทพหัสดิน ข้ามแม่น้ำบางปะกง
ชลบุรี เมืองชลบุรี 54+650 Thai Highway-3466.svg ถนนบ้านเก่า-พานทอง ไป อ.พานทอง ไม่มี
58+855 ต่างระดับหนองไม้แดง Thai Highway-361.svg ถนนเลี่ยงเมืองชลบุรี ไป อ.พนัสนิคมอ.บ้านบึงพัทยา ไม่มี
ตรงไป: Thai Highway-3.svg ถนนสุขุมวิท เข้าตัวเมืองชลบุรี ไป ศรีราชาพัทยา
      สะพาน              กำลังก่อสร้างหรือโครงการในอนาคต

สถานที่สำคัญ[แก้]

เขตบางนา Khet Bang Na is one of 50 districts of กรุงเทพมหานคร Bangkok, Thailand.

บริษัท เอ็มเค เมทัลชีท โปรดักส์ จำกัด

MK Metalsheet Products Company Limited

เขตบางนา เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตของกรุงเทพมหานคร สภาพทั่วไปเป็นเขตชุมชนเมืองหนาแน่นปานกลางผสมกับชุมชนการเกษตร[ต้องการอ้างอิง]

ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้]

ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา (ฝั่งพระนคร) มีอาณาเขตติดต่อกับเขตต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกา ดังนี้

ประวัติ[แก้]

ท้องที่เขตบางนาในอดีตมีฐานะเป็น ตำบลบางนา เป็นเขตการปกครองหนึ่งของอำเภอพระโขนง จังหวัดพระประแดง (เปลี่ยนชื่อมาจากนครเขื่อนขันธ์ตั้งแต่ พ.ศ. 2457)[2] จนกระทั่งใน พ.ศ. 2470 ทางราชการได้พิจารณาโอนตำบลบางนาไปขึ้นกับอำเภอสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการแทน เพื่อความสะดวกในการปกครอง[3] แต่ใน พ.ศ. 2472 ก็โอนกลับมาเป็นเขตการปกครองของอำเภอพระโขนง (ซึ่งได้ย้ายจากจังหวัดพระประแดงมาขึ้นกับจังหวัดพระนครอยู่ก่อนแล้ว) อีกครั้งหนึ่ง เนื่องจากตั้งอยู่ใกล้กันมากกว่าและประชาชนไปติดต่อธุระราชการได้สะดวกกว่า[4]

ต่อมาในท้องที่ตำบลบางนาเริ่มมีสภาพเป็นชุมชน ย่านการค้า อุตสาหกรรม และที่พักอาศัยหนาแน่นขึ้น ในการขยายเขตเทศบาลนครกรุงเทพครั้งที่ 2 เมื่อ พ.ศ. 2498 ทางราชการจึงโอนพื้นที่บางส่วนของตำบลบางนาเข้าไปในท้องที่ด้วย[5] ส่วนพื้นที่ที่อยู่นอกเขตเทศบาลนั้นได้กลายเป็นท้องที่ในเขตสุขาภิบาลประเวศซึ่งจัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2506[6] จนกระทั่งมีการขยายเขตเทศบาลนครกรุงเทพออกไปอีกเป็นครั้งที่ 3 เมื่อ พ.ศ. 2507 จึงแยกไปรวมอยู่ในเขตเทศบาลทั้งตำบล[7]

ใน พ.ศ. 2514 จังหวัดพระนครถูกรวมเข้ากับจังหวัดธนบุรี เปลี่ยนฐานะเป็นนครหลวงกรุงเทพธนบุรี[8] และใน พ.ศ. 2515 จึงเปลี่ยนแปลงฐานะเป็นกรุงเทพมหานคร[9] ซึ่งได้ยกเลิกการปกครองแบบสุขาภิบาลและเทศบาล รวมทั้งเปลี่ยนคำเรียกเขตการปกครองใหม่จากอำเภอและตำบลเป็นเขตและแขวงตามลำดับ ตำบลบางนาจึงได้รับการเปลี่ยนแปลงฐานะเป็น แขวงบางนา ขึ้นกับเขตพระโขนง

ภายหลังในเขตพระโขนงและเขตอื่น ๆ ของกรุงเทพมหานครมีความเจริญและมีประชากรหนาแน่นขึ้น จำเป็นต้องจัดขนาดพื้นที่และจำนวนประชากรในเขตต่าง ๆ ให้มีความเหมาะสมใกล้เคียงกัน เพื่อให้การปกครองและการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ในวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2540 กระทรวงมหาดไทยจึงประกาศเปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตพระโขนง โดยแยกแขวงบางนาและบางส่วนของแขวงบางจากออกมาจัดตั้งเป็น เขตบางนา และในวันที่ 7 พฤศจิกายน ปีเดียวกัน กรุงเทพมหานครได้ประกาศตั้งแขวงบางนาเต็มพื้นที่เขตบางนา เพื่อให้เกิดความชัดเจนและประโยชน์ในด้านการปกครอง การบริหาร และการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชน และประกาศทั้ง 2 ฉบับเริ่มมีผลบังคับใช้ในวันเดียวกันคือวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2541[10][11]

การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]

วันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 กรุงเทพมหานครได้ประกาศยุบแขวงบางนาและตั้งแขวงขึ้นใหม่ 2 แขวง[12] โดยมีผลบังคับใช้ในวันเดียวกัน ส่งผลให้เขตบางนาในปัจจุบันประกอบด้วยแขวงดังต่อไปนี้

อักษรไทย อักษรโรมัน พื้นที่
(ตร.กม.)
จำนวนประชากร
(ธันวาคม 2561)
จำนวนบ้าน
(ธันวาคม 2561)
ความหนาแน่นประชากร
(ธันวาคม 2561)
บางนาเหนือ Bang Na Nuea
42,235
31,770
บางนาใต้ Bang Na Tai
47,913
35,839
ทั้งหมด
18.789
90,148
67,609
4,797.91

โดยมีถนนสรรพาวุธและถนนเทพรัตนเป็นเส้นแบ่งเขตการปกครองระหว่างแขวงทั้ง 2 ดังกล่าว ตั้งแต่ท่าเรือสรรพาวุธจนถึงสะพานข้ามคลองบางนา

ประชากร[แก้]

การคมนาคม[แก้]

ทางสายหลักในพื้นที่เขตบางนา ได้แก่

ส่วนทางสายรองและทางลัด ได้แก่

ระบบขนส่งมวลชน

สถานที่สำคัญ[แก้]

สถานศึกษา[แก้]

สโมสรกีฬา[แก้]

Call Now Button