Category Archives: สวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ

สวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ

สวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ is the position for activity in post to be presented at the first rank on Google page search by address the focus keyword name in category.

สวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ (อังกฤษQueen Sirikit Park) เป็นสวนสาธารณะแห่งหนึ่งในเขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่บนถนนกำแพงเพชร 2 อยู่ติดกับสวนจตุจักรและสวนวชิรเบญจทัศ สร้างขึ้นเนื่องใน “วโรกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถครบ 5 รอบ ซึ่งตรงกับวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2535″ โครงการนี้ริเริ่มโดยคณะรัฐมนตรีในปี พ.ศ. 2534 เปิดเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2539 มีพื้นที่ระยะแรก 140 ไร่ (0.22 ตร.กม.) โครงการระยะที่สองจะเพิ่มพื้นที่อีก 60 ไร่ในอนาคต ซึ่งมีมูลนิธิสวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ บริหารงานโดยมีคณะกรรมการโดยโปรดเกล้าในราชกิจจานุเบกษาล่าสุดในปี พ.ศ. 2561[1]

ประวัติ[แก้]

ริเริ่มโดยคณะรัฐมนตรีในปี พ.ศ. 2534 เพื่อจัดสร้างขึ้นเนื่องใน “วโรกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถครบ 5 รอบ ซึ่งตรงกับวันที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2535” โดยมีวัตถุประสงค์ให้เป็นสวนสาธารณะในลักษณะสวนป่าที่มีความเป็นธรรมชาติ และน้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ 9

วัตถุประสงค์[แก้]

สำหรับใช้เป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจของประชาชน และเป็นสถานที่รวบรวมอนุรักษ์พันธุ์ไม้ให้เป็น สวนพฤกษศาสตร์ที่สมบูรณ์ ตลอดจนส่งเสริมวิชาการในการศึกษาวิจัยด้านพฤกษศาสตร์และปลูกฝัง ทัศนคติในการอนุรักษ์ธรรมชาติ ให้เห็นถึงประโยชน์และคุณค่าของธรรมชาติแก่เยาวชนและประชาชนทั่วไป

รูปแบบของสวน[แก้]

สวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ ประกอบด้วยความหลากหลายทางชีวภาพด้วยพรรณไม้นานาชนิด ไม่ว่าจะเป็น พรรณไม้ยืนต้น พรรณไม้ล้มลุก พรรณไม้ประดับ พรรณไม้น้ำ พรรณไม้ดอก พรรณไม้ใบ พรรณไม้สมุนไพร และอีกจำนวนมาก อาทิ มีสระน้ำรูปตัว S และ  ซึ่งเป็นอักษรตัวแรก ในพระนามของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ ในภาษาอังกฤษและภาษาไทย มีลานบัวเป็นศูนย์กลาง ซึ่งประกอบไปด้วยบัวนับร้อยชนิด ทั้งบัวหลวง บัวสาย บัวผัน และบัวขนาดเล็กหรือบา และล้อมรอบไปด้วยสวนพฤกษศาสตร์ที่รวบรวมสายพันธุ์ต่าง ๆ ของพรรณไม้ที่มีหลากหลายหลายสปีชีส์ เช่น พรรณไม้เทิดพระเกียรติ ต้นไม้ทรงปลูก พรรณไม้ในสกุลลีลาวดี พรรณไม้วงศ์ชบาและสกุลชบา พรรณไม้ในวงศ์กล้วย ซึ่งมีกว่า 229 ชนิดในปัจจุบัน[2] นอกจากนี้ยังมีสระบัว และไม้มงคลพระราชทานพรรณไม้ประจำจังหวัด 76 จังหวัดตั้งแต่ปี ค.ศ. 2008[3] จนมีครบทั้ง 77 จังหวัด ตั้งแต่ กรุงเทพมหานคร จนถึงอำนาจเจริญ และยังมีสวนหิน สวนพรรณไม้วงศ์ปาล์ม ภายสวนยังเป็นที่ตั้งของพิพิธภัณฑ์เด็ก กรุงเทพมหานครอีกด้วย

งานกิจกรรม[แก้]

งานสีสรรพรรณไม้ เทิดไท้บรมราชินีนาถ[แก้]

  • งาน “สีสรรพรรณไม้ เทิดไท้บรมราชินีนาถ” ครั้งที่ 12[4] โดยจัดขึ้นระหว่าง สิงหาคม พ.ศ. 2561[5]
  • งาน “สีสรรพรรณไม้ เทิดไท้บรมราชินีนาถ” ครั้งที่ 11[6] โดยจัดขึ้นระหว่าง สิงหาคม พ.ศ. 2560[7]
  • งาน “สีสรรพรรณไม้ เทิดไท้บรมราชินีนาถ” ครั้งที่ 10 โดยจัดขึ้นระหว่าง สิงหาคม พ.ศ. 2559[8][9][10][11][12]
  • งาน “สีสรรพรรณไม้ เทิดไท้บรมราชินีนาถ” ครั้งที่ 9 โดยจัดขึ้นระหว่าง สิงหาคม พ.ศ. 2558[13]
  • งาน “สีสรรพรรณไม้ เทิดไท้บรมราชินีนาถ” ครั้งที่ 8 โดยจัดขึ้นระหว่าง สิงหาคม พ.ศ. 2557[14][15]
  • งาน “สีสรรพรรณไม้ เทิดไท้บรมราชินีนาถ” ครั้งที่ 7 โดยจัดขึ้นระหว่าง สิงหาคม พ.ศ. 2556[16][17]
  • งาน “สีสรรพรรณไม้ เทิดไท้บรมราชินีนาถ” ครั้งที่ 6 โดยจัดขึ้นระหว่าง สิงหาคม พ.ศ. 2555
  • งาน “สีสรรพรรณไม้ เทิดไท้บรมราชินีนาถ” ครั้งที่ 5[18] โดยจัดขึ้นระหว่างวันที่ 9 – 14 สิงหาคม พ.ศ. 2554
  • งาน “สีสรรพรรณไม้ เทิดไท้บรมราชินีนาถ” ครั้งที่ 4 โดยจัดขึ้นระหว่าง สิงหาคม พ.ศ. 2553
  • งาน “สีสรรพรรณไม้ เทิดไท้บรมราชินีนาถ” ครั้งที่ 3 โดยจัดขึ้นระหว่าง สิงหาคม พ.ศ. 2552[19][20][21]
  • งาน “สีสรรพรรณไม้ เทิดไท้บรมราชินีนาถ” ครั้งที่ 2 โดยจัดขึ้นระหว่าง สิงหาคม พ.ศ. 2551[22]
  • งาน “สีสรรพรรณไม้ เทิดไท้บรมราชินีนาถ” ครั้งที่ 1 โดยจัดขึ้นระหว่าง สิงหาคม พ.ศ. 2550

งานวิ่ง[แก้]

  • วิ่ง : “Run for Love 2018”[23]

ดูเพิ่ม[แก้]

ขต จตุจักร is the position for activity in post to be presented at the first rank on Google page search by address the focus keyword name in category.

เขต จตุจักร Khet Chatuchak is one of 50 districts of กรุงเทพมหานคร Bangkok, Thailand.

เขตจตุจักร – วิกิพีเดีย

สำนักงานเขตจตุจักร – กรุงเทพมหานคร

เอ็มเค เมทัลชีท (MK Metalsheet)

เขตจตุจักร เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตของกรุงเทพมหานคร เป็นแหล่งการค้า การบริการ และแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก

ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้]

ตั้งอยู่บริเวณฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยาหรือฝั่งพระนคร มีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่การปกครองต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกา ดังนี้

ประวัติศาสตร์[แก้]

แต่เดิม ตำบลลาดยาว เป็นท้องที่ปกครองของอำเภอบางเขน จังหวัดพระนคร สภาพทั่วไปเป็นทุ่งนา มีประชากรตั้งถิ่นฐานกระจายอยู่เป็นกลุ่ม ๆ ตามริมคลองสายหลัก เช่น คลองเปรมประชากร คลองบางซื่อ คลองบางเขน คลองลาดยาว เป็นต้น ต่อมาจึงได้มีชุมชนและบ้านจัดสรรต่าง ๆ เพิ่มขึ้นจากการขยายตัวของตัวเมืองในช่วงหลังจากปี พ.ศ. 2507 อันเป็นปีที่ขยายเขตเทศบาลนครกรุงเทพซึ่งครอบคลุมตำบลลาดยาวด้วย

ในปี พ.ศ. 2514 มีประกาศรวมจังหวัดพระนครกับจังหวัดธนบุรีเข้าด้วยกันเป็นนครหลวงกรุงเทพธนบุรีและเปลี่ยนเป็นกรุงเทพมหานครในเวลาต่อมา ซึ่งเปลี่ยนการเรียกคำว่าตำบลและอำเภอใหม่ ตำบลลาดยาวจึงมีฐานะเป็น แขวงลาดยาว ขึ้นกับเขตบางเขน

ภายหลังพื้นที่เขตบางเขนมีความเจริญและมีประชากรหนาแน่นขึ้นมาก พื้นที่บางแห่งอยู่ไกลจากสำนักงานเขต กระทรวงมหาดไทยจึงได้แยกแขวงลาดยาวและประกาศจัดตั้งเป็น เขตจตุจักร พร้อมกับจัดตั้งเขตดอนเมือง ในวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2532

การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]

ในวันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 สมัคร สุนทรเวช ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครขณะนั้น ได้ลงนามในประกาศกรุงเทพมหานคร เปลี่ยนแปลงพื้นที่แขวงในเขตจตุจักรใหม่ โดยจัดตั้งแขวงเสนานิคม แขวงจันทรเกษม แขวงจอมพล และแขวงจตุจักร แยกออกจากแขวงลาดยาว เพื่อความสะดวกในการติดต่อสื่อสารและการให้บริการของเขต เพราะเดิมเขตจตุจักรมีเพียงแขวงลาดยาวเพียงแขวงเดียว แต่มีพื้นที่กว้างขวางและมีประชากรอาศัยหนาแน่น จึงทำให้มีเลขที่บ้านซ้ำกันเป็นจำนวนมาก โดยให้มีผลบังคับใช้ในวันที่ 1 ธันวาคม ปีเดียวกัน[2][3] ทำให้ปัจจุบัน เขตจตุจักรแบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 5 แขวง ได้แก่

อักษรไทย อักษรโรมัน พื้นที่
(ตร.กม.)
จำนวนประชากร
(ธันวาคม 2561)
จำนวนบ้าน
(ธันวาคม 2561)
ความหนาแน่น
(ธันวาคม 2561)
ลาดยาว Lat Yao
10.69
42,560
27,325
3,981.29
เสนานิคม Sena Nikhom
2.826
19,869
15,694
7,030.78
จันทรเกษม Chan Kasem
6.026
38,754
25,856
6,431.13
จอมพล Chom Phon
5.488
31,344
31,203
5,711.37
จตุจักร Chatuchak
7.878
23,396
13,475
2,969.78
ทั้งหมด
32.908
155,923
113,553
4,738.14

ประชากร[แก้]

เหตุการณ์สำคัญ[แก้]

วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2557 ได้เกิดเหตุทะเลาะวิวาทโดยเกิดการใช้อาวุธปืนยิงต่อสู้กันขึ้นมีผู้เสียชีวิต 6 รายที่ สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร)

วันที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 เวลา 22.00 น. ได้เกิดเหตุไฟไหม้ ธนาคารไทยพาณิชย์ สำนักงานใหญ่ มีผู้เสียชีวต 1 ราย ได้แก่ นาย เดชา ด้วง ชนะ[5]

วันที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561 เปิดใช้อุโมงค์ทางลอดแยกรัชโยธิน ตามแนวถนนรัชดาภิเษก อุโมงค์ทางลอดมีขนาด 4 ช่องจราจร กว้าง 16.80 เมตร ยาว 1,085 เมตร ความสูงช่องทางลอด 5.25 เมตร และต่ำกว่าถนน 7.50 เมตร

การคมนาคม[แก้]

ในพื้นที่เขตจตุจักรมีทางสายหลัก ได้แก่

ส่วนทางสายรอง ได้แก่

ทางด่วน

ทางน้ำ

รถไฟฟ้า

รถโดยสาร

สถานที่สำคัญ[แก้]

สถานศึกษา[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1.  สำนักบริหารการทะเบียน. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. “สถิติประชากรและบ้าน – จำนวนประชากรแยกรายอายุ.” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://stat.dopa.go.th/stat/statnew/upstat_age.php. สืบค้น 3 มกราคม 2562.
  2.  http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/00134192.PDF
  3.  http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/00134191.PDF
  4.  สำนักบริหารการทะเบียน. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. “จำนวนประชากรและบ้าน.” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://stat.dopa.go.th/xstat/popyear.html 2556. สืบค้น 3 เมษายน 2556.
  5.  http://www.komchadluek.net/news/crime/200983
Call Now Button